ใบ ทร 38 – ใบ ทร 9 กับ ทร 900 ต่างกันอย่างไร

Friday, 16-Sep-22 20:50:32 UTC

แรงงาน ขั้นตอนนี้ไม่ต้องพาแรงงานต่างด้าวไปแล้ว ชำระค่าธรรมเนียมคนละ 1, 900 บาท ท่านจะได้รับใบอนุญาตทำงานชั่วคราวของแรงงานต่างด้าว ทำหน้าที่เหมือน Work Permit ทั่วไป ใช้ได้แค่ 1 ปี กฎหมายใหม่บังคับให้แรงงานต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติ, พาสปอร์ต และ Work Permit ตัวจริง ภายใน 1 ปี นับจากได้ Work Permit ชั่วคราว หากท่านต้องการจองคิวพิสูจน์สัญชาติ ต้องเสียค่าธรรมเนียมคนละ 2, 000 บาท ใบอนุญาตทำงานชั่วคราวจะถูกเปลี่ยนเป็นบัตรแข็งเหมือนบัตรประชาชนคนไทย จากนั้นรอเรียกคิวไปพิสูจน์สัญชาติ เมื่อพิสูจน์สัญชาติเสร็จ จึงพามาทำพาสปอร์ต กัมพูชา ลาว ง่าย เพียงแค่พาไปสถานฑูตก็จบ แต่พม่า กะเหรี่ยง ต้องพาไปที่ชายแดน จ. ระนอง เพื่อข้ามไปแดนพม่าพิสูจน์สัญชาติเสร็จค่อยกลับมา ใช้เวลาประมาณ 2-3 วัน ขั้นตอนนี้มีนายหน้ารับจ้างบริการ ปกติค่าใช้จ่ายรวมเดินทาง อาหาร ที่พัก แล้ว คนละประมาณ 6, 500-8, 000 บาท สรุป ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อแรงงานต่างด้าว 1 คน ประมาณ 13, 000-15, 000 บาท Work Permit ใช้ได้ 2 ปี หลังจากนั้นต่ออายุก็ไม่แพงแล้ว ข้อแนะนำ นายจ้างไม่ควรรับผิดชอบค่าใช้จ่ายนี้ ให้ตกลงกับแรงงานต่างด้าวว่าต้องเป็นผู้จ่าย เพราะหากนายจ้างจ่ายให้ พอได้บัตรปุ๊บ พวกนี้มันออกยกครัวครับ ผมใช้วิธีหักจากเงินเดือนแบบผ่อนจ่าย และบัตรตัวจริงเก็บไว้เอง ถ่ายสำเนาไว้เท่านั้น ให้ตกลงกันก่อนจ้างงานเลย ป.

  1. France
  2. งานประกันสุขภาพถ้วนหน้า :: ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ รพ.ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ::

France

2) ตามมาตรา 7 1. แบบฟอร์ม ตท. 2 Download () 2. รูปถ่ายหน้าตรงแบบสุภาพ ไม่สวมหมวก ขนาด 2 x 2. 5 นิ้ว ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 3 รูป (เขียนชื่อด้านหลังรูป) 3. หนังสือเดินทาง หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือใบถิ่นที่อยู่ ฉบับจริง พร้อมสำเนา 1 ชุด และได้รับการตรวจลงตราตามที่ กฎหมายอื่นๆ กำหนด 4. หนังสือรับรองการจ้างของนายจ้างปัจจุบันตามแบบที่กำหนด และหนังสือชี้แจงความจำเป็นในการจ้างคนต่างด้าว 5. หนังสือชี้แจงกรณีที่บริษัทได้รับการส่งเสริมการลงทุน แต่ไม่ยื่นขอผ่านเพราะเหตุใด 6. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลพร้อมวัตถุประสงค์ของบริษัท (ไม่เกิน 6 เดือน) 7. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, ทะเบียนบ้าน หรือสำเนาใบอนุญาตทำงานของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม 8. สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น, สำเนาทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ. พ. 01) ที่ระบุประเภทกิจการ และ (ภ. 09) หากมีการเปลี่ยนแปลง 9. งบการเงินบริษัทปีล่าสุด 10. สำเนาการนำส่งเงินประกันสังคม (สปส. 1-10) 11. บัญชีรายชื่อคนต่างด้าวที่ทำงานอยู่แล้ว และแผนภูมิการแบ่งงาน 12. หลักฐานการศึกษาหรือหลักฐานการผ่านงาน 13. สัญญาการจ้างงานคนต่างด้าว 14. ใบรับรองแพทย์ 15.

ท. ร. ๓๘ ข คือ แบบรับรองรายการทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน มาจากทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน (ท. ๓๘ ก) (ท. ร. ๓๘ ก คือ ทะเบียนราษฎร ที่ใช้สำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร หรือ ไร้รัฐ เป็นทะเบียนบ้านสำหรับคนไร้รัฐ โดยจะมีเลขบัตรประจำตัว ๑๓ หลัก ขึ้นต้นด้วยเลข ๐) สำหรับ ท. ๑๔/๑ เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง สรุป ท. ๑๔/๑ ก็คือ ทะเบียนบ้านที่รับรองโดยสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นฯ เป็นรายบุคคล (๑ คน ต่อ ๑ ฉบับ) ทั้ง ท. ๓๘ ข. และ ท. ๑๔/๑ สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นฯ จะเป็นผู้ออกรับรองให้ ค่าธรรมเนียบฉบับละ ๑๐ บาท ไปขอยื่นคำร้องขอคัดรับรองได้เลยที่สำนักทะเบียนฯ ทุกแห่งทั่วประเทศ

ใบ ทร 38 31 fc porto

ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • ใบ ทร 38 http
  • ขอถามเรื่อง ทร.38ขและทร14/1 ค่ะ - GotoKnow
  • ใบ ทร.38/1
  • ใบ ทร 38 isère
  • ใบ ทร 38 nov 2005

งานประกันสุขภาพถ้วนหน้า :: ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ รพ.ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ::

มีประโยชน์สำหรับท่านที่สนใจเปลี่ยนมาใช้แรงงานต่างด้าว ซึ่งค่าจ้างถูกกว่า อึดกว่า ขยันกว่า คนไทยมากมายนัก 1. ขอแบบคำร้องขอจ้างคนต่างด้าวที่ สนง. แรงงานในเขตท้องที่ให้แรงงานทำงาน เรียกเอกสารจากสำนักจัดหางาน ของผมไปที่แรงงาน จ. นนทบุรี 2. เอกสาร สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านนายจ้าง กรณีนายจ้างไม่ได้เป็นเจ้าของที่ (เช่าเค้า) ต้องใช้สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านเจ้าของที่ ถ้าเจ้าตัวไม่มาต้องมีหนังสือมอบอำนาจด้วย 3. สำเนาหนังสือรับรองจดทะเบียนนิติบุคคล 4. รูปถ่ายแรงงานต่างด้าว 5. แรงงานต่างด้าว เพื่อลงลายชื่อชื่อ กรณีเขียนหนังสือไม่ได้ ใช้ปั้มลายนิ้วมือแทน หลังจากยื่นคำร้อง ถ้าจำไม่ผิดค่าธรรมเนียมคนละ 30 บาทมั้ง ท่านจะได้เอกสาร ทต. 1 เป็นเอกสารใช้นัดหมายให้ท่านพาแรงงานต่างด้าวไปถ่ายรูป ขึ้นทะเบียนกับ สนง. เขตในท้องที่ที่ให้แรงงานทำงาน ณ สนง. เขตในท้องที่ที่ให้แรงงานทำงาน และได้เอกสาร 1. ยื่น ทต. 1 เพื่อรับคิวนัดหมาย โดยปกติประมาณ 1-2 สัปดาห์ 2. ณ วันนัด พาแรงงานต่างด้าวไปถ่ายรูป ขึ้นทะเบียนกับ สนง. เขต ขั้นตอนเหมือนกับคนไทยทำบัตรประชาชนและแจ้งเข้าอยู่ในทะเบียนบ้าน 3. เอกสารเหมือนตอนทำ ทต.

ปายนั้น ของดการรับตรวจสุขภาพเป็นการชั่วคราวเนื่องจากในช่วงวันเวลา ดังกล่าวเป็นสัปดาห์ของการตรวจสุขภาพประจำปีของ เจ้าหน้าที่ รพ. ปาย จึงประชาสัมพันธ์ให้นายจ้าง และแรงงานต่างด้าวสัญชาติ เมียนมา กัมพูชา ลาว ได้รับทราบโดยทั่วกัน โดยจะเริ่มตรวจสุขภาพอีกครั้ง 19 กุมภาพันธ์ 2561 เป็นต้นไปจนกว่ากรมแรงงานจะปิดรับภายในวันที่ 31 มีนาคม 2561 ณ รพ. ปาย หลักฐานที่ต้องเตรียมมา ในวันที่เริ่มตรวจอีกครั้ง 19/2/61 – เอกสารใบ ทร. 38 1 ใบ […]

คือเรามีเพื่อนเป็นชาวเมียนมาหน่ะค่า ทีนี้เขาไปสมัครงานใหม่ ที่ทำงานใหม่ก็ขอ ทร. 38 เราไม่รู้ว่ามันคืออะไร ต้องยื่นคำขอที่ไหน วอนผู้รู้ตอบเราทีนะคะ คือเขาเข้ามาถูกกฏหมายนะ มีพาร์ทสปอร์ตเล่มสีม่วง ใบอนุญาติทำงาน(เป็นแบบคำขอและใบเสร็จ) ใบรายงานตัว 90 วัน วีซ่า ขาดอย่างเดียวคือใบ ทร. 38 ช่วยอนะนะเราทีนะคะ ว่าต้องยื่นที่ไหน ต้องใช้อะไรบ้าง ยื่นด้วยตนเองได้หรือเปล่าเราร้อนใจมากเลย ขอบคุณค่า แสดงความคิดเห็น

Tag: แรงงานต่างด้าว ประกาศ รพ. ปาย: การตรวจสุขภาพและขายบัตรประกัน แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ กลุ่มเป้าหมาย: แรงงานต่างด้าวรายเก่าและผู้ติดตามที่เคยตรวจและซื้อประกันสุขภาพที่อายุบัตรจะสิ้นสุดอายุการคุ้มครองประกันสุขภาพ วันที่ 31 มีนาคม 2563 และกลุ่มแรงงานที่เข้าระบบประกันสังคม ที่ต้องผ่านการตรวจสุขภาพเพื่อต่อใบอนุญาตทำงาน (ได้ดำเนินการจัดทำ/ปรับปรุงทะเบียนประวัติ ปี 2561 และกลุ่มที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ) รพ. ปาย เปิดดำเนินการตรวจสุขภาพ: 6 มกราคม – 31 มีนาคม 2563 —> ยื่นเอกสาร ติดต่อที่ ห้องเบอร์ 20 (งานประกันสุขภาพ) รพ. ปาย ในวันและเวลาราชการ หลักฐานและเอกสารที่ต้องนำมา: 1) บัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (บัตรสีชมพู) และสำเนาทะเบียนบ้านบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (ทร. 38) 2) หลักฐานของนายจ้าง (บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน) 3) บัตรประกันสุขภาพเดิมที่จะหมดอายุ 31 มี. ค. 63 4) แรงงานที่เข้าประกันสังคมแจ้งเลขประกันสังคม/แสดงบัตร 5) ใบอนุญาตทำงาน (Work permit) ประชาสัมพันธ์:แรงงานต่างด้าวที่ซื้อบัตรไว้กับ รพ. ปายทยอยรับบัตรได้แล้ว ประชาสัมพันธ์:แรงงานต่างด้าวที่ซื้อบัตรไว้กับ รพ. ปายทุกประเภทบัตรเริ่มทยอยรับบัตรได้แล้ว สำหรับกลุ่มแรงงานต่างด้าวทั้ง 3 สัญชาติ(เมียนมา กัมพูชา ลาว) ที่ทำการซื้อบัตรประกันสุขภาพไว้กับ รพ.

ล. 1 เปิดให้ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวปีละ 1 ครั้ง ปกติประมาณเดือน พ. ค. -มิ. ย. ป. 2 ช่วงที่ยังไม่ได้บัตร ต้องติดใบ ทต. 1 หรือ ทร. 38 ไว้ที่ร้านตลอดเวลา เพราะลูกพี่จะมาไถเงินตอนนี้นั่นล่ะ เพราะถือว่าให้โอกาสทำแล้ว ถ้าไม่ทำก็โดนไถ ป. 3 ทำแบบถูกต้องประหยัดกว่าจ่ายส่วยมากนัก ปกติส่วยต่อหน่วยหัวละ 500 บาท อย่างต่ำๆ 2-3 หน่วย ไม่คุ้มครับ เสี่ยงอีกด้วย ทำถูกต้องดีกว่า

1 แต่มีเอกสารให้อนุญาตแรงงานต่างด้าวเข้ามาอยู่ในทะเบียนบ้านเพิ่มเติมขึ้นมา หากนายจ้างไม่ได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องใช้สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมหนังสือรับรองของเจ้าบ้านให้แรงงานต่างด้าวเข้าอยู่ได้ หลังจากขึ้นทะเบียนกับ สนง. เขต ค่าธรรมเนียมคนละ 60 บาท ท่านจะได้ใบ ทร. 38/1 ทำหน้าที่คล้ายใบประชาชนของแรงงานต่างด้าว และใบ ทร. 38 ทำหน้าที่คล้ายทะเบียนบ้าน ให้นำเอกสารทั้ง 2 พร้อมเอกสารจากสำนักจัดหางาน (ตัวเดียวกับแบบคำร้องขอจ้างแรงงานต่างด้าว) ไปยื่นนัดหมายตรวจโรคที่ ร. พ. ในพื้นที่ที่รับอนุญาตตรวจแรงงานต่างด้าว ของผมไปที่ รพ. ชลประทาน ณ. ที่ รพ. 1. เตรียม ใบ ทร. 38, เอกสารจากสำนักจัดหางาน, สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน นายจ้าง เจ้าของบ้าน 2. รพ. จะนัดหมายพาแรงงานไปตรวจโรค โดยปกติประมาณ 1-2 สัปดาห์ 3. พาแรงงานไปตรวจโรค ชำระค่าตรวจคนละ 1, 900 บาท หลังจากตรวจโรค ท่านจะได้ใบรับรองแพทย์, บัตรคนไข้แรงงานต่างด้าว ให้นำใบรับรองแพทย์, ทร. 38, สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน นายจ้าง เจ้าของบ้าน ไปที่ สนง. แรงงานในท้องที่ที่ทำงาน ณ. สนง. แรงงาน 1. ยื่นเอกสารเพื่อขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวกับ สนง.

elderlyinnovation.com, 2024