เก็บ เงิน เยอะ ๆ – เงินเดือนน้อย รายได้น้อย ก็เก็บเงินเยอะ ๆ ได้ - Moneyguru.Co.Th

Friday, 16-Sep-22 19:42:17 UTC

เก็บเงินยังไงให้ได้เยอะๆ (ต้องลอง!! ) | buubeaas - YouTube

  1. รายได้น้อย ก็เก็บเงินแสนได้
  2. คอร์ด
  3. สำรองเงินไว้เยอะๆ ไม่ใช่เรื่องที่ดี
  4. สรุปดราม่า ‘M-Flow’ เก็บค่าผ่านทางด้วย ‘AI’ มีข้อดี-ข้อเสีย อย่างไร ?

รายได้น้อย ก็เก็บเงินแสนได้

เงินคุณจะชำรุด แม้ว่าการฝากBank ดูจะเป็นการออมที่ปลอดภัยที่สุด ฝากเท่าไหร่ เงินก็ยังคงอยู่เท่านั้น แต่ไม่ใช่เสมอไปครับ จริงอยู่ที่คุณยังได้เห็นยอดเงินเท่าเดิมอยู่ แต่สิ่งที่ชำรุด และ กัดกินเงินของคุณลงไปเรื่อยคือ "เงินเฟ้อ" นั่นเอง ตัวเลขเท่าเดิม แต่มูลค่าน้อยลง ยกตัวอย่างง่ายๆ เมื่อ 30ปีที่แล้ว คุณใช้เงิน15บ. ซื้อก๋วยเตี๋ยวได้1ชาม มาถึงปีนี้ คุณไม่สามารถใช้เงิน 15บ.

"อย่าสำรองเงิน เยอะเกินความจำเป็น" ไม่ต้องแปลกใจครับ อ่านกันไม่ผิด หลายคนอาจจะคิดว่าการมีเงินสดสำรองไว้เยอะๆ เป็นสิ่งที่ดี ยิ่งเยอะยิ่งปลอดภัย ซึ่งที่จริงแล้ว ก็ถูกครับแต่ "ไม่ถูกทั้งหมด" เรามีสูตรง่ายๆ ของการเก็บเงินสดสำรองอย่างที่หลายคนน่าจะทราบดี คือ 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายรายเดือน ซื้อให้เก็บในBankได้ หยิบใช้ได้ตอนฉุกเฉิน จากสถานการณ์โควิดที่ผ่านมา ผมเพิ่มให้ว่าถ้าใครสามารถเก็บได้ถึง 12 เดือน ก็จัดไปครับ แต่ถ้ามีมากกว่านั้น คุณต้องจัดสรร ปันส่วนเงินของคุณ ไปไว้ในตะกร้าอื่นๆบ้าง เหตุผลที่เราไม่ควรสำรองเงิน เยอะเกินความจำเป็น... มีดังนี้ครับ 1. เงินคุณจะขี้เกียจ บางคนยังอยู่กับชุดความคิดที่ว่า "เก็บไปเรื่อยๆ เดี๋ยวรวยเอง" ซึ่งสมัยนี้ไม่เป็นเช่นนั้นแล้วครับ หากคุณมีเงินสด ที่เอาแต่ฝากBank ไว้เฉยๆ เงินคุณจะไม่งอกเงยใดๆเลย เงินคุณจะไม่ทำงาน เพราะดอกเบี้ยเงินฝากตอนนี้น้อยนิดติดดินเหลือเกินครับ เงินของคุณจะทำได้แค่นอนอยู่ในนั้นไปวันๆ ทั้งที่เค้ามีศักยภาพให้คุณได้มากกว่านั้น 2. ตัวคุณจะขี้เกียจ การที่เรามีเงินสดอยู่ในมือมากมายเกินความจำเป็น จะทำให้คุณไม่รู้สึกตระหนักว่า เงินนั้นต้องควรงอกเงย หรือควรเพิ่มพูนได้มากกว่านี้ คุณจะรู้สึกมั่นใจในตัวเองว่าฉันมีเงินสดมากเพียงพอ จนไม่ทันฉุกคิด หรือระมัดระวังในเรื่องอื่นๆ เช่น เรื่องการเจ็บป่วย การจ่ายค่ารักษา หรือ เรื่องการเกษียณอายุ ที่ต้องใช้เงินมหาศาล เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณเงินยอดเงินในบัญชีมากจนเกินไป คุณจะนิ่งนอนใจมากขึ้นเท่านั้น ทั้งที่จริงๆแล้ว มันอาจจะไม่เพียงพอ กับทุกเรื่องของชีวิต 3.

คอร์ด

ที่ Krungsri Plan Your Money โทร. 02-296-5959 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 9. 00 น. - 17. 00 น. เราขอเป็นกำลังใจให้ทุกคนเก็บเงินได้อย่างที่ตั้งใจ เก็บวันละ 100 บาท แค่ 3 ปีก็ครบแสนแล้ว และยังจะมีดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนเป็นของแถม ให้เอาไปฉลองความสำเร็จของตัวเองอีกด้วย จำไว้เสมอว่า "ออมก่อนรวยกว่า" อย่ามัวแต่ฝันถึงเงินก้อนโต เริ่มเก็บเลยตั้งแต่วันนี้

  1. ขาย toggle clamp สมุทรปราการ โควิด
  2. เก็บ เงิน เยอะ ๆ ss3
  3. เก็บ เงิน เยอะ ๆ 90
  4. เก็บ เงิน เยอะ ๆ ฟรี
  5. 5 นิสัย ที่ทำให้เก็บเงิน ไม่อยู่ !!! – odini ลงทุนกองทุนอัตโนมัติด้วย Robo-advisor แอปแรกในไทย
  6. โหลด fifa 2015 apk
  7. แชร์ 10 วิธีการเก็บเงินแบบง่ายๆ ชิวๆ มือใหม่ก็ทำได้!! | MAKE by KBank
  8. เปรียบเทียบชุดหม้อกาแฟโบราณแตนเลส304และอุปกรณ์พร้อมใช้งานครบชุดปลอดสารตะกั่วมีมาตราฐานมอก | ผลิตภัณฑ์ฮาร์ด
  9. Kidzania ส่วนลด ais franã
  10. 40 ความคิดวิธีการตกแต่งห้องสีม่วง – sportolunga.info
  11. รายได้น้อย ก็เก็บเงินแสนได้

สำรองเงินไว้เยอะๆ ไม่ใช่เรื่องที่ดี

เงินเย็นต้องมี จะเก็บมากเก็บน้อยก็เก็บเถอะ มีเป้าหมายที่ใช้เงินแล้วอยากให้สนใจมีเงินเย็นกันด้วยจ้า เงินเย็นก็คือเงินเก็บที่เราจะไม่หยิบมาใช้แน่ ๆ นั่นเองค่ะ คนเรามักต้องเจอสถานการณ์ฉุกเฉินเสมอ ไม่ว่าจะคนในครอบครัวเจ็บไข้ อุบัติเหตุ ตกงาน ฯลฯ ถ้าเรามีเงินเย็นเป็นเงินสำรองยามฉุกเฉินไว้มันช่วยได้เยอะมากเลย ลองจัดการเงินของตัวเองดูค่ะ มากน้อยไม่อยากให้มองข้ามนะ จะเก็บเดือนละ 500 หรือ 5, 000 ก็ยังดีกว่าไม่มีเก็บนะ ทำอย่างสม่ำเสมอเงินในบัญชีก็เพิ่มได้เหมือนกัน ลองใช้ฟังก์ชั่น Cloud Pocket จัดการเงินเย็นตรงนี้กันนะคะ แบ่งแยกกระเป๋าไว้เลยแล้วเก็บไว้ใช้ยามฉุกเฉินเท่านั้น 3. เศษเงินในบัญชีเก็บออมให้หมด วิธีนี้ส่วนตัวแอบใช้บ่อยเลยค่ะ เวลาใช้จ่ายไประหว่างเดือนมันจะชอบมีเศษเงินท้ายเหลือ ๆ อยู่ 30 บาท 80 บาท อะไรแบบนี้ จะกดออกเป็นเงินสดก็ไม่ได้ จะซื้อของก็ไม่พออีก ก็ย้ายมันมาเป็นเงินเก็บเสียเลย แต่เก็บแยกนะคะ สะสมไว้เยอะ ๆ ให้เป็นรางวัลตัวเอง เก็บแยกใน Cloud Pocket สะดวกดีเลย ชอบเวลาได้ตั้งชื่อกระเป๋าเงินมันฟินดีนะ ประมาณแบบว่า เงินรางวัลวันปล่อยผี อะไรแบบนี้ อยากช็อปจนอดไม่ไหวก็เอาเงินตรงนี้มาใช้ไป ดีต่อใจแถมไม่กระทบเงินส่วนอื่น เป็นอีกวิธีการเก็บเงินอีกอย่างที่อยากให้ลองทำกันดูค่า ทำสม่ำเสมอก็ได้หลายพันอยู่น้าแถมใช้แอปแบ่งเงินเป็นกอง ๆ แบบนี้มาช่วยก็สะดวกด้วย 4.

11 May ใคร ๆ ก็อยากมีเงินเก็บเยอะ ๆ กันทั้งนั้น ทางเราก็ตั้งใจเก็บหลายครั้งแล้ว แต่ทำม้ายยยยย ทำไมถึงเก็บไม่ได้สักที ใคร ใครทำให้เป็นแบบนี้ ที่เรายังเก็บเงินไม่ค่อยได้นั้น อาจจะเป็นเพราะสาเหตุต่อไปนี้ … หักห้ามใจตัวเองไม่ได้ ป้าย SALE ขอให้บอก!!! เห็นของลดราคา ของจัดโปรโมชันพิเศษ ลิปสติกออกใหม่ คอลเลคชันนั่นนี่มาใหม่แล้วอดใจไม่ไหว ก็ของมันต้องมี ถ้าไม่ซื้อตอนนี้ไม่รู้จะลดราคาอีกเมื่อไหร่ ทำให้ต้องควักกระเป๋าไปซื้อตลอด ตอนซื้อมัวแต่ชอปจนไม่รู้ตัว กว่าจะรู้ตัวอีกทีก็งงแล้วงงอีกว่าเงินเดือนพึ่งออกมา แล้วทำไมตอนนี้เหลือนิดเดียว แล้วก็ต้องมาบ่นกับตัวเองว่า นี่เงินเดือนคือเงินทอน!!! วิธีแก้คือ เราต้องไม่เป็นทาสการตลาด ไม่เป็นทาสโปรโมชัน ถ้าจะให้ดีคือลิสต์ของที่จำเป็นและอยากได้เอาไว้ อันไหนใช้ด่วนส่วนอันไหนไม่มีก็ไม่เป็นไร แล้วพอของที่เราต้องการดัน SALE ขึ้นมาก็นี่แหละเวลาของฉัน ส่วนของชิ้นอื่น ๆ ที่เราไม่ได้อยากได้ ต่อให้ลด 90% ซื้อมาก็ไม่คุ้ม เพราะเราจะไม่ได้ใช้น้าาาา ใช้ก่อนเก็บ เรามักจะคิดว่า เงินที่ได้มา – ค่าใช้จ่าย = เงินเก็บ เหลือเท่าไหร่ค่อยเก็บ แต่!!!

สรุปดราม่า ‘M-Flow’ เก็บค่าผ่านทางด้วย ‘AI’ มีข้อดี-ข้อเสีย อย่างไร ?

ขออภัย คุณเปิดเว็บไซต์ด้วยเบราว์เซอร์เวอร์ชันเก่า เพื่อการใช้งานอย่างสมบูรณ์ ขอแนะนำให้คุณใช้เว็บเบราว์เซอร์ Chrome 80+ Firefox 75+ Safari 13+ Microsoft Edge 18+ Opera 30+ คลิกที่ไอคอนเพื่อเลือกดาวน์โหลดเบราว์เซอร์เวอร์ชั่นล่าสุด

"ตั้งเป้าหมายว่า อยากเก็บเงินเพื่ออะไร" การมีเป้าหมายทางการเงินเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งเราควรตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน วัดผลได้ว่าถึงไหนแล้ว เช่น อยากมีเงินแสนภายใน 3 ปี หรือ อยากมีเงินให้ลูกได้เรียนต่อปริญญาโท ถ้ายังไม่มีเป้าหมายชัดๆ ก็ใช้คอนเซ็ปต์ที่ว่าจะเก็บเงิน 10% ก่อนใช้ให้ได้ทุกเดือน แล้วค่อยแบ่งส่วนสำหรับหลายๆ เป้าหมาย เช่น เงินเก็บไปเที่ยว เงินเผื่อฉุกเฉิน เงินเก็บไว้ใช้ยามเกษียณ 4. "หาตัวช่วยให้เงินงอกเงย" การเก็บเงินก้อนนั้น จะสำเร็จเร็วมากขึ้น ได้เงินก้อนโตไวขึ้น ถ้าเราหาวิธีจัดการให้ได้ดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนจากเงินส่วนที่เราเก็บไว้ สำหรับใครที่ไม่ได้มีความรู้เรื่องการลงทุน หรือไม่พร้อมรับความเสี่ยงที่เงินต้นอาจลดลง ก็ฝากเงินไว้กับธนาคาร โดยเลือกฝากแบบที่ให้ดอกเบี้ยสูงสักหน่อย อย่างที่ธ. กรุงศรีฯ จะมีบัญชีออมทรัพย์ที่ให้ดอกเบี้ยสูง บัญชีเงินฝากออมทรัพย์มีแต่ได้ออนไลน์ ที่ให้ดอกเบี้ย 1.

ชวนแฟนเก็บเงิน สองหัวย่อมดีกว่าหัวเดียว (คนโสดอย่าเพิ่งข้ามข้อนี้น้า) อีกหนึ่งวิธีการเก็บเงินแบบเพิ่มพูน ลองมีกระเป๋าเงินกลางดูดีไหมมม ชวนแฟนมาเก็บเงินด้วยกันเลย Cloud Pocket สามารถแชร์กระเป๋าเงินด้วยกันได้นะ หรือจะเป็นเงินกลางของครอบครัวก็ได้ แชร์ได้ไม่จำกัดเลย เอาไว้เป็นเงินส่วนกลางไว้ซื้อของที่ใช้ด้วยกันได้หรือเงินสำรองในอนาคตของครอบครัวก็ได้ ส่วนคนโสดดด แชร์กระเป๋าเงินกับเพื่อนได้เหมือนกันน้าช่วงนี้คลายล็อคดาวน์ต่าง ๆ แล้ว หน้าหนาวก็กำลังมาเผื่ออยากจะเปิดตี้ท้าลมหนาวที่เชียงใหม่ไรงี้ก็แชร์กับเพื่อนได้เลย จัดการเงินในกระเป๋าเดียวกันไปเลยหมดปัญหาทริปล่มได้นะ 10. หาวิธีเพิ่มพูนเงินในบัญชี การศึกษาวิธีลงทุนต่าง ๆ กำลังเป็นที่นิยมเลย ทั้งบิตคอยน์ คริปโตฯ กองทุน กินดอกเบี้ย ฯลฯ เรียกว่าถ้าศึกษาดี ๆ ลงทุนแล้วปังแววเศรษฐีมาแน่ นอกจากนี้แอปแบ่งเงินเป็นกอง MAKE by KBank เขาก็ให้ดอกเบี้ยเหมือนนะ ฟังก์ชั่น Cloud Pocket ทุกกระเป๋าที่เราสร้าง (เพิ่มกระเป๋าเงินได้ไม่มีจำกัดนะ) จะได้ ดอกเบี้ยสูงสุด 1. 5% ต่อปีสำหรับยอดหนึ่งแสนบาทแรกด้วย ไม่ได้เป็นแอปที่ช่วยจัดการเงินเราอย่างเดียวแล้วยังให้ดอกเบี้ยอีก คุ้มมม โดยรวมแล้วทุกคนย่อมมีของที่อยากได้ สถานที่ที่อยากไป อนาคตที่ใฝ่ฝันกันทุกคนอยู่แล้วและปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการจัดการเงินเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะพาเราไปสู่เป้าหมายนั้นได้ ยิ่งเริ่มจัดการเงินเร็วยิ่งได้เปรียบกว่านะคะ ลองหาวิธีการเก็บเงินที่เข้ากับไลฟ์สไตล์ของเราดู เอาที่ไม่กดดันเกินไปสามารถทำไปได้เรื่อย ๆ และอย่าลืมให้รางวัลตัวเองบ้างเพื่อผ่อนคลายระหว่างทางก่อนถึงเป้าหมายนะ:)

elderlyinnovation.com, 2024