ชุด กิจกรรม หมาย ถึง, ชุด ฝึก ทักษะ หมาย ถึง

Friday, 16-Sep-22 19:22:04 UTC

(2543). การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการ เรียนการสอนแบบ CIPPA MODEL เรื่องเส้นขนานและความคล้าย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่2. ปริญญานิพนธ์ กศ. ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร. ระพินทร์ โพธิ์ศรี. (2547). การสร้างและวิเคราะห์คุณภาพชุดการสอน. (เอกสารประกอบการสอน). อุดรดิตถ์: คณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดตรดิตถ์. ถ่ายเอกสาร.

ชุดกิจกรรม หมายถึง

ชุดการสอนหรือชุดการเรียนรู้ เดิมมักใช้คำว่าชุดการสอน เพราะเป็น สื่อที่ครูนำมาใช้ประกอบการสอนแต่ต่อมาแนวคิดการในการยึดเด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนได้เข้ามามีอิทธิพลมากขึ้น จึงมีผู้เรียกชุดการสอนเป็นชุดการเรียนมากขึ้น บางคนมักเรียกรวมกันว่าชุดการเรียนการสอนก็มี ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ได้ใช้คำว่าการเรียนรู้เป็นคำหลักสำคัญ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ.

กิจกรรม หมายถึงอะไร? - พจนานุกรมไทย

  • สั่งพิมพ์วอลเปเปอร์ติดผนัง wallpaper ลาย tropical |
  • ร้านเทวมงคล เครื่องรางของขลัง
  • True wifi โคราช
  • ติดต่อเรา - ขายไฟหน้าLED ไฟxenon ไฟซีน่อน ไฟโปรเจคเตอร์ กล้องถอย เซ็นเซอร์ถอยหลังราคาถูก : Inspired by LnwShop.com

ความหมายของชุดการสอน

กิจกรรมเกมการศึกษา - Early Childhood Education

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ | toffycool

4. 1 จะต้องศึกษาเนื้อหาสาระของวิชาที่จำนำมาสร้างชุดกิจกรรมนั้นอย่างละเอียดว่าจะมุ่งเน้นให้เกิดหลักการเรียนรู้อะไรบ้างกับผู้เรียน นำมาวิเคราะห์แล้วแบ่งเป็นหน่วยการเรียนการสอน ในแต่ละหน่วยจะต้องมีหัวข้อย่อยรวมอยู่อีก จะต้องศึกษาพิจารณาให้ละเอียดชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในหน่วยอื่นๆ อันจะสร้างความสับสนให้ผู้เรียนได้ การแบ่งหน่วยการเรียนการสอนของแต่ละวิชานั้น ควรเรียงลำดับขั้นตอนของเนื้อหาสาระอะไรเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ผู้เรียนควรเรียนรู้ก่อน 2. 2 เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระแบ่งเป็นหน่วยการเรียนได้แล้ว จะต้องพิจารณาอีกครั้งว่าจะทำชุดกิจกรรมแบบใด โดยคำนึงถึงข้อกำหนดว่าผู้เรียนคือใคร จะให้อะไรกับผู้เรียนและทำอย่างไร 2. 3 กำหนดหน่วยการเรียนการสอน โดยประมาณเนื้อหาสาระที่เราถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียนตามชั่วโมงที่กำหนด โดยคำนึงถึงว่าเป็นหน่วยที่น่าสนุก น่าเรียนรู้ หาสื่อการเรียนได้ง่าย หน่วยการเรียนนี้มีหลักการหรือความคิดรวบยอดอะไร 2. 5 กำหนดความคิดรวบยอด ความคิดรวบยอดที่กำหนดขึ้นจะต้องสอดคล้องกับหน่วย และหัวเรื่องโดยสรุปแนวความคิด และหลักเกณฑ์ที่สำคัญเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม 2. 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดจุดประสงค์การเรียนให้สอดคล้อง กับความคิดรวบยอดที่กำหนดเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งผู้เรียนสารถแสดงออกมาให้เห็นภายหลังที่เรียนจบเนื้อหาแต่ละเรื่องและผู้สอนสามารถวัดได้ 2.

ชุดการเรียนรู้ที่ 1 | การอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์

(สุคนธ์ สินธพานนท์, 2551: 18) การที่ผู้สอนสร้างชุดการเรียนการสอนเพื่อนำไปใช้ในนการเรียนการสอนนั้น ครูควรดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 2. 5. 1 เลือกหัวข้อ ( Topic) กำหนดขอบเขตและประเด็นสำคัญของเนื้อหา ผู้สร้างชุดการเรียนการสอนควรเลือกหัวข้อและประเด็นสำคัญ ได้จากการวิเคราะห์มาตรบานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาข้นพื้นฐาน ในระดับชั้รที่จะสอนว่าหัวข้อใดที่เหมาะสมที่ควรนำไปสร้างชุดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนสามารถศึกษาความรู้ได้ด้วยตนเอง 2. 2 กำหนกเนื้อหาที่จะทำชุดการเรียนการสอน โดยคำนึงถึงความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 2. 3 เขียนจุดประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน การเขียนจุดประสงค์ควรเขียนเป็นลักษณะเฉพาะหรือจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนทราบจุดประสงค์ว่าเมื่อศึกษาชุดการเรียนการสอนจบแล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความสามารถอย่างไร 2. 4 สร้างแบบทดสอบ การสร้างแบบทดสอบมี 3 แบบ คือ 1. แบบทดสอบวัดพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน เพื่อดูว่าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานก่อนที่จะมาเรียนเพียงพอหรือไม่ (เมื่อทดสอบแล้วถ้าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานไม่เพียงพอ ผู้สอนควรแนะนำให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยวิธีใด เป็นต้น หรือผู้สอนอาจอธิบายความรู้เพิ่มเติมแก้ผู้เรียนในเรื่องนั้นๆ) 2.

ภัทรียา-ชุดกิจกรรม: ขั้นตอนการสร้าง

แบบทดสอบย่อย เพื่อวัดความรู้ของผู้เรียนหลังจากผู้เรียนเรียนจบในแต่ละเนื้อหาย่อย 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นการเรียน ใช้ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังจากการศึกษาชุดการเรียนการสอนจบแล้ว 2. 5 จัดทำชุดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 1. บัตรคำสั่ง 2. บัตรปฏิบัติการและบัตรเฉลย (ถ้ามี) 3. บัตรเนื้อหา 4. บัตรฝึกหัด และบัตรเฉลยบัตรฝึกหัด 5. บัตรทดสอบ และบัตรเฉลยบัตรทดสอบ 2. 6 วางแผนจัดกิจกรรมการเรียยนการสอน ผู้สอนเตรียมออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยมีหลักการสำคัญ คือ 1. ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญในการทำกิจกรรมด้วยตนเอง ผู้สอนเป็นผู้เพียงคอยชี้แนะ และควบคุมการเรียนการสอน 2. เลือกกิจกรรมหลากหลายที่เหมาะสมกับชุดการเรียนการสอน 3. ฝึกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการคิดอย่างหลากหลาย เช่น คิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัยหา คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ เป็นต้น 4. มีกิจกรรมที่ฝึกให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2. 7 การรวบรวมและจัดทำสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน สื่อการเรียนการสอนบางชนิดอาจมีผู้จัดทำไว้แล้ว ผู้สอนอาจนำมาปรับปรุงดัดแปลงใหม่ให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและจุดประสงค์ที่จะสอน ครูผู้สอน ต้องสร้างสื่อการเรียนการสอนใหม่ ซึ่งต้องใช้เวลามาก (วิชัย วงษ์ใหญ่, 2525: 134-137) ได้เสนอขั้นตอนการผลิตชุดกิจกรรมไว้ดังนี้ 2.

ศปก. ศบค. เตรียมประเมินผลจากมาตรการที่ออกมาใน 7 วัน ย้ำพร้อมปรับมาตรการ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ แจงยังไม่ปิดตลาดสด-ซูเปอร์มาร์เก็ต ห่วงความจำเป็นของประชาชน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ. ) ลงนามบันทึกความเข้าใจกับ สมาคมกีฬาลอนเทนนิสแห่งประเทศไทยฯ ร่วมมือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ทางด้านกีฬาเทนนิสเพื่อความเป็นเลิศในโรงเรียน ตั้งเป้าปีแรกมีนักเรียนหันมาจับแร็กเกตเล่นกีฬาลูกสักหลาด 1, 500-3, 000 คนเป็นอย่างน้อย เมื่อวันที่ 15 ก. ค. 2564 มีพิธีบันทึกความเข้าใจ ความร่วมมือในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ทางด้านกีฬาเทนนิสเพื่อความเป็นเลิศในโรงเรียน ระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ. ) กับ สมาคมกีฬาลอนเทนนิสแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ ห้องประชุม 1 อาคาร สพฐ. บทที่ 18: อ่อนแอ! อ่อนแอเกินไปแล้ว! หวังเต็งแหวกว่ายไปในทะเลแห่งความรู้จนถึงเวลาเลิกเรียนตอน 17. 30 น. ส. พัชรินทร์ ชีพชาญเดช และ น. อัญชิสา ฉันทะ เข้าร่วมด้วย นายภูมิสรรค์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา อุปนายกสมาคมกีฬาลอนเทนนิสฯ เปิดเผยว่า สมาคมได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเยาวชน และเล็งเห็นว่ากีฬาเป็นกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมและพัฒนาด้านสุขภาพ​ร่างกายและจิตใจของเยาวชนได้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น ซึ่งร่วมกับ สพฐ.
ชุดกิจกรรม หมายถึง

ชุดกิจกรรมนี้ต้องการความรู้เดิมของนักเรียนหรือไม่ 2. การนำเข้าสู่บทเรียนของชุดกิจกรรมนี้เหมาะสมหรือไม่ 3. การประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน มีความสับสนวุ่นวายกับผู้เรียนหรือไม่ 4. การสรุปผลการเรียนการสออนเพื่อเป็นแนวทางสู่ความคิดรวบยอดหรือหลักการสำคัญของการเรียนรู้ในหน่วยนั้นๆ ดีหรือไม่ 5. การประเมินผลหลังการเรียน เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นนั้น ให้ความเชื่อมั่นได้มากน้อยแค่ไหนกับผู้เรียน ดังนั้น สรุปได้ว่า การผลิตชุดกิจกรรมต้องศึกษาเนื้อหาสาระของวิชานนั้น และหน่วยที่จะนำมาทำชุดกิจกรรมอย่างละเอียดเพื่อจัดทำชุดกิจกรรมได้เหมาะสม กำหนดความคิดรวบยอด กำหนดจุดประสงค์การเรียนให้สอดคล้อง กับความคิดรวบยอดที่กำหนดเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม นำจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาวิเคราะห์เพื่อหากิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องและเหมาะสม เรียงลำดับกิจกรรม สื่อการเรียน การประเมินผลแล้วนำชุดกิจกรรมไปหาประสิทธิภาพหลังการเรียนเพื่อตรวจสอบว่าว่าผลเป็นอย่างไร

6 การวิเคราะห์งาน นำจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาวิเคราะห์เพื่อหากิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องและเหมาะสม 2. 7 เรียงลำดับกิจกรรมการเรียน เพื่อให้เกดการประสานกลมกลืน ไม่เกิดการซับซ้อน คำนึงถึงพฤติกรรมพื้นฐานผุ้เรียน 2. 8 สื่อการเรียน วัสดุอุปกรณ์และกิจกรรมการเรียน ที่ครูและนักเรียนจะต้งอกระทำ เพื่อเป็นแนวทางการเรียนรู้ ซึ่งครูจะต้องจัดทำขึ้นและจัดหาไว้ให้เรียบร้อย ถ้าสื่อการเรียนเป็นของใหญ่โตหรือมีคุณค่าที่ต้องจัดเตรียมมาก่อนจะต้องเขียนบอกไว้ให้ชัดเจนในคู่มือครู เกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมว่าจะไปจัดหาได้ ณ ที่ใด เช่นเครื่องฉายภาพนิ่ง เครื่องบันทึกเสียง และพวกสิ่งเก็บไว้ได้ไม่ทนทานเพราะเกิดการเน่าเสีย เช่น ใบไม้ พืช สัตว์ เป็นต้น 2. 9 การประเมินผล คือการตรวจสอบดูว่าหลังการเรียนการสอนแล้วได้มีการเปลี่ยนแปลงตามที่จุดประสงค์การเรียนกำหนดไว้หรือไม่ จะวัดผลให้ผู้เรียนวัดกันเองและตรวจคำตอบได้เอง 2. 10 การทดลองชุดกิจกรรม เพื่อหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อปรับปรุงให้ถูกต้องเหมาะสม ควรนำไปทดลองกับกลุ่มเล็กๆก่อน เพื่อตรวจสอบหาข้อบกพร่องและการแก้ไขปรับปรุงอย่างดี แล้วจึนำไปทดลองกับเด็กทั้งชั้นหรือกลุ่มใหญ่โดยกดำหนดขั้นตอนไว้ดังนี้ 1.

elderlyinnovation.com, 2024