ทองหลาง ใบ ม น / ทองหลาง &Raquo; สมุนไพรไทย

Friday, 16-Sep-22 21:38:10 UTC
February 3, 2021 ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ExplainingAboutPDeltaAffect November 19, 2021 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน HOT ROLLED STEEL February 15, 2022
  1. ทองหลางใบมน
  2. บริษัทภูมิสยาม-มาตรฐาน มอก. – imicropile ไอไมโครไพล์ ไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์
  3. ยินดีต้อนรับสู่โรงเรียนวัดนวลนรดิศ...

ทองหลางใบมน

ทองหลางใบมน ทองหลางใบมน ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina suberosa Roxb.

9 - 1. 2 เมตร จนถงึ ตน้ ท่สี ูงมาก และบางตน้ อาจสูงถึง 12 เมตร ลาํ ตน้: แตก ก่ิงกา้ นสาขาและพุม่ ใบสวยงาม มนี ้าํ ยางสีขาวขน้ เป็นไมผ้ ลดั ท่ีสลดั ใบในฤดูแลง้ ก่อนที่จะผลดิ อกและผลิใบรุ่น ใหม่. ก่ิง: ถา้ หากเป็นกิ่งท่ียงั ไม่แก่ จะมีสีเขียวออ่ นนุ่ม ดูเกือบจะอวบน้าํ ส่วนก่ิงแก่มสี ีเทามีรอยตะป่ ุมตะป่ํ า กิ่ง ไมส่ ามารถทานน้าํ หนกั ได้ ก่ิงเปราะ เปลอื กลาํ ตน้ หนาตน้ ที่โตเตม็ ท่ีแลว้ จะพฒั นาจนกระทง่ั มคี วามแข็งแรงมาก ข้ึน.

บริษัทภูมิสยาม-มาตรฐาน มอก. – imicropile ไอไมโครไพล์ ไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์

  • ยินดีต้อนรับสู่โรงเรียนวัดนวลนรดิศ...
  • Moka pot brikka ราคา recipes
  • Nac ยา ละลาย เสมหะ ราคา &Raquo; Nac Long เช็คราคาล่าสุด ราคาถูก ราคาปัจจุบัน
  • ทองหลางใบมน
  • โปรแกรม เสาร์ นี้

เข้าสู่ระบบการรับสมัครเรียนออนไลน์ ปีการศึกษา 2565 คลิกที่นี่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ 77 เพชรเกษม19 คลองภาษีเจริญ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เบอร์โทรศัพท์ติด 02-4082818 E-mail::

ชื่อสมุนไพร: ทองหลาง ชื่ออื่น ๆ: ทองบ้าน, ทองหลางด่าง, ทองหลางใบมนด่าง, ทองหลางลาย, ทองเผือก, ทองหลางดอกแดง ชื่อสามัญ: Erythrina indica. ชื่อวิทยาศาสตร์: Erythrina orientalis (L) Murr. Var. picta ชื่อวงศ์: LEGUMINOSAE – PAPILIONOIDEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ต้นทองหลาง เป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบ มีขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ซึ่งมีความสูงประมาณ 18 เมตร ลักษณะบริเวณลำต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลมโค้ง คม ปลายหนามเป็นสีม่วงคล้ำ ผิวเปลือกลำต้นบาง เป็นสีเทา หรือสีเหลืองอ่อน ๆ ใบทองหลาง ใบออกเป็นช่อ หรือใบรวม มีประมาณ 3 ใบ ลักษณะของใบเป็นรูปมน ปลายใบ แหลมยาวคล้ายใบใบโพธิ์ ใบที่อยู่ยอดจะมีขนาดใหญ่กว่าใบย่อยคู่ล่าง ขนาดของใบกว้างประมาณ 2-4 นิ้ว ยาวประมาณ 2-5. 5 นิ้ว หลังใบมีเป็นสีด่างเหลือง ๆ เขียว ๆ พื้นผิวเรียบ เป็นมัน ใต้ท้องใบเป็นสีขาว หรือสีหม่น ก้านช่อใบยาวประมาณ 3-4 นิ้ว ดอกทองหลาง ดอกออกเป็นช่อติดกันเป็นกลุ่ม มีสีแดงสด ออกตามบริเวณข้อต้น หรือโคนก้านใบ ช่อหนึ่งยาวประมาณ 4-9 นิ้ว ลักษณะของดอกมีกลีบกว้างประมาณ 1-1.

ยินดีต้อนรับสู่โรงเรียนวัดนวลนรดิศ...

ทองหลางใบมน

(Indian Coral Tree) ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina ovalifolia Roxb. ชื่อวงศ์ LEGUMINOSAE – PAPILIONOIDEAE ชื่ออึ่น ทองหลาง ถิ่นกำเนิด อินเดีย ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-15 ม. ขนาดทรงพุ่ม 8-12 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มกลมหรือรูปไข่ หนาทึบ เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามแนวยาว สีน้ำตาลอ่อน ลำต้นเล็กและกิ่งมีหนามสั้นสีดำ ใบ ใบประกอบมีใบย่อยสามใบ เรียงเวียนสลับ แกนกลางใบ ประกอบยาว 15-20 ซม. ใบรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขนมเปียกปูน กว้าง 6-15 ซม. ยาว 8-16 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนเว้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบบางและอ่อน สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอก สีแสดมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่ง ดอกรูปดอกถั่ว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ขอบหยัก ซี่ฟันตื้นๆ 5 จัก มีขนสั้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ กลีบดอกโค้ง ยาว 4-7 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ผล ผลแห้งแตก เป็นฝักหนา กว้าง 2-3 ซม. ยาว 15-30 ซม. คอดเล็กน้อยระหว่างเมล็ด หรือเป็นข้อๆ ต่อกัน เมื่อสุกสีน้ำตาลเข้ม หรือเทาอมดำ เมล็ดรูปไต สีส้มหรือแสด 3-10 เมล็ดต่อฝัก ติดผลเดือน มี. ค. -พ. ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่งหรือปักชำกิ่ง นิเวศวิทยา พบตามป่าทุ่งหรือป่าโปร่ง การใช้ประโยชน์ด้านสมุนไพร เปลือก ใบ รสเฝื่อนเอียน แก้เสมหะ แก้ลมพิษ หยอดตา แก้ตาแดง ตาแฉะ ตาฝ้าฟาง ดับพิษร้อน ราก แก้พยาธิในท้อง แก้ตาฟาง แก้เสมหะและลม แก้ไข้หวัด พอกบาดแผล แก้ปวดแสบปวดร้อน ที่มา:วัลลิ์รุกขบุปผชาติ ตามรอยพระบาทบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ความรู้ด้านการเกษตร ที่น่าสนใจ

4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทำให้หนูถีบจักรตาย 50% [1] จากการทดลองในปี ค. ศ. 1973 ที่ประเทศอินเดีย ซึ่งทำการทดลองใช้สารสกัดจากเปลือกต้นและใบทองหลางใบมนในสัตว์ทดลอง พบว่า สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้ [1] ประโยชน์ของทองหลางใบมน ยอดอ่อนและใบอ่อนนำมารับประทานเป็นผักสด เช่น ใช้เป็นผักจิ้มกับน้ำพริก เป็นผักแกล้มกับยำ ลาบหมู แกล้มกับตำมะม่วง เป็นต้น [1], [2] เอกสารอ้างอิง หนังสือสมุนไพรบำบัดเบาหวาน 150 ชนิด. (เภสัชกรหญิง จุไรรัตน์ เกิดดอนแฝก). " ทองหลางใบมน ". หน้า 91-92. ผักพื้นบ้านในประเทศไทย, กรมส่งเสริมการเกษตร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: 203. 172. 205. 25/ftp/intranet/Research_AntioxidativeThaiVegetable/. [11 ธ. ค. 2014]. สงขลาพอร์ทัล. (เวสท์สงขลา). เข้าถึงได้จาก: [11 ธ. 2014]. สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย, เทศบาลเมืองทุ่งสง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช. " ทองหลาง ". 2014]. ภาพประกอบ: (by Dinesh Valke, Qamar Mehdi) เรียบเรียงข้อมูลโดยเว็บไซต์เมดไทย ( Medthai) เรื่องที่น่าสนใจ

elderlyinnovation.com, 2024