คอ งบ อง

Friday, 16-Sep-22 21:58:11 UTC

2307 ทางหนึ่งให้ เนเมียวสีหบดี นำพลเข้ามาทางเหนือด้วยการตี ล้านนา ล้านช้าง และหัวเมืองเหนือก่อน และอีกทางหนึ่งให้มังมหานรธานำกองทัพเข้ามาทางใต้ ทั้ง 2 ทัพเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาไว้นานถึง 1 ปีครึ่งแม้ผ่านฤดูน้ำหลากก็ไม่ยกทัพกลับ ภายหลังแม่ทัพฝ่ายใต้ คือ มังมหานรธา เสียชีวิตลงก็ส่งแม่ทัพคนใหม่จากเมือง เมาะตะมะ ชื่อ เมงเยเมงละอูสะนา เข้ามาทำหน้าที่แทนจนในที่สุดก็สามารถตีกรุงศรีอยุธยาแตกได้ในปี พ. 2310 แต่กองทัพพม่าก็อยู่ได้ไม่นานเนื่องจาก พระเจ้ามังระ ทรงให้เร่งทำการและรีบกลับเพื่อทำ สงครามกับจีน ในรัชสมัยของ จักรพรรดิเฉียนหลง ถึงแม้อาณาจักรอยุธยาจะถูกทำลายแต่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ทรงสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาใหม่ที่ กรุงธนบุรี พระเจ้ามังระจึงทรงส่งแม่ทัพคนใหม่มา คือ อะแซหวุ่นกี้ นำทัพใหญ่เข้ามาปราบปรามฝ่ายธนบุรีในปี พ. 2318 อะแซหวุ่นกี้สามารถตีหัวเมือง พิษณุโลก แตกและกำลังจะยกทัพตามลงมาตาม แม่น้ำเจ้าพระยา แต่ก็ต้องยกทัพกลับเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้ามังระในปี พ. 2319 จากนั้นก็เกิดการแย่งชิงราชสมบัติราว 4–5 ปี ก่อนที่จะกลับมามีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งในรัชสมัยของ พระเจ้าปดุง พระองค์ทรงยกทัพเข้าตีดินแดน ยะไข่ ได้สำเร็จ ซึ่งไม่เคยมีกษัตริย์พม่าพระองค์ใดทำได้มาก่อน ทำให้พระองค์เกิดความฮึกเหิม ยกกองทัพใหญ่มา 9 ทัพ 5 เส้นทาง ที่เรียกว่า สงครามเก้าทัพ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในรัชสมัย พระเจ้าจักกายแมง พม่าได้ยึดครอง แคว้นอัสสัม ของ อินเดีย ได้สำเร็จ ทำให้พม่าต้องเผชิญหน้ากับ จักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งกำลังล่าอาณานิคมอยู่ในขณะนั้น ก่อให้เกิดเป็นสงครามที่เรียกว่า " สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง " กินระยะเวลา 2 ปี คือ พ.

  1. ประวัติศาสตร์และความล่มสลายของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายแห่งพม่า [ร่วมกด JOIN สนับสนุนเราหน่อยนะ ] - YouTube
  2. ราชวงศ์ตองอู - วิกิพีเดีย
  3. [Histofun Deluxe] • ราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายในประวัติศาสตร์พม่า
  4. “ภูมิศาสตร์” พลังขับเคลื่อนเครื่องจักรสงครามของราชวงศ์คองบอง – ประวัติศาสตร์ – Social Multiculious Forum

ประวัติศาสตร์และความล่มสลายของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายแห่งพม่า [ร่วมกด JOIN สนับสนุนเราหน่อยนะ ] - YouTube

ประวัติศาสตร์และความล่มสลายของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายแห่งพม่า [ร่วมกด JOIN สนับสนุนเราหน่อยนะ] - YouTube

ไม่เข้ามาแทรกแซงกาชาร์กับไจน์ติญา 3. จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนเงินล้านปอนด์ 4. อนุญาตให้มีการติดต่อระหว่างผู้แทนของอังวะกับกัลกาตา 5. เซ็นสัญญาร่วมการค้า (คงไม่ต่างกันมากกับ สนธิสัญญาเบาว์ริง * ที่ไทยโดน) ทำให้พระองค์ไม่มีจิตใจบริหารปกครองประเทศ ส่งผลให้อำนาจตกอยู่ที่มเหสี และ พระเชษฐา ถูกกักบริเวณจากข้อหาว่าเป็นโรคประสาทจนพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อ 15 ตุลาคม พ. 2389 8. พระเจ้าสารวดี: หรือพระเจ้าแสรกแมง พระองค์คือผู้ที่ตับประเจ้าพาคยีดอ คุมขัง ไว้แล้วขึ้นครองราชย์แทน ต่อมาพระองค์เองก็ทรงมีพระสติวิปลาสและถูกพระโอรสคือ เจ้าชายพุกาม มิน หรือในพงศาวดารไทยเรียกพระเจ้าพุกามแมงควบคุมตัวไว้ตั้งแต่ พ. 2385 และสวรรคตเมื่อ 17 พฤศจิกายน พ. 2389 9. พระเจ้าพุกาม: ในรัชสมัยของพระองค์ พม่าได้ทำสงครามกับอังกฤษอีกครั้งจนต้อง เสียดินแดนพะโคและพม่าตอนใต้เกือบทั้งหมด และได้มีกบฏเกิดขึ้นโดยเจ้าชายมินดง พระอนุชาของพระเจ้าพุกามแมงซึ่งไม่เห็นด้วยกับการทำสงครามกับอังกฤษตั้งแต่ต้น และปลดพระองค์ออกจากราชสมบัติเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ พ. 2395 10. พระเจ้ามินดง: พระองค์เป็นผู้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อมรปุระ และมัณฑะเลย์ ทรง ปฏิรูปการปกครองพม่าใหม่ให้ทันสมัยกว่าเดินและสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับอังกฤษแต่ถึง อย่างนั้นก็ยังเกิดความขัดแย้งกับอังกฤษทำให้ต้องเสียดินแดนไปให้อีกจำนวนมาก ปัญหาการแย่งชิงอำนาจภายในประเทศทำให้เกิดการสังหารหมู่พระราชวงศ์จำนวนมาก หลังสิ้นรัชกาลพระเจ้ามินดงแล้ว เป็นจุดที่ให้ลจะสูญสิ้นของราชวงศ์คองบองเต็มที 11.

ราชวงศ์ตองอู - วิกิพีเดีย

มงบล็อง หรือ มอนเตเบียนโก ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศอิตาลี เป็นเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาแอลป์ มีความสูง 4, 808. 7 เมตร ทั้ง มงบล็อง และ มอนเตเบียนโก ต่างมีความหมายว่า "ภูเขาสีขาว" สภาพทั่วไปของตัวเขามีร่องรอยการกัดเซาะของธารน้ำแข็ง มงบล็องมีรูปร่างยอดขรุขระ เพราะเกิดจากการโก่งตัวของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นคือ แผ่นแอฟริกากับแผ่นยูเรเชีย แต่หินบริเวณที่โก่งตัวกลับเป็นหินทรายกับหินปูน ยอดเขาสูงบริเวณเทือกเขาแอลป์จึงสึกกร่อนได้ง่าย จึงเป็นสาเหตุให้มงบล็องก็มียอดแหลมขรุขระ เพราะถูกสภาพอากาศและธารน้ำแข็งกัดกร่อนมาเป็นเวลานานหลายล้านปี สภาพภูมิอากาศของมงบล็องเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน บนยอดมีหิมะปกคลุมตลอดทั้งปี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญของอิตาลีและฝรั่งเศส

คอร์ดกีต้าร์ หมาเห่าเครื่องบิน Loso | คอร์ดเพลง หมาเห่าเครื่องบิน [คอร์ด กีต้าร์] [คอร์ด อูคูเลเล่] [แทป Guitar] [แทป Bass] [แทป Drum] [แทป Keyboard] คอร์ด คอร์ดเพลง เนื้อเพลง Loso เสื้อ CHORDTABS 2022 [ คอร์ด หมาเห่าเครื่องบิน Loso] Blogspot - Wordpress - Pinterest

[Histofun Deluxe] • ราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายในประวัติศาสตร์พม่า

จาก. " ทำไมราชวงศ์คองบองยุคต้นถึงเปี่ยมไปด้วยแสนยานุภาพทางทหาร? " ใน Facebook โดย Dulyapak Preecharush - ดุลยภาค ปรีชารัชช, สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2559.

21 ก. พ. เวลา 12:00 • ประวัติศาสตร์ • ราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายในประวัติศาสตร์พม่า ราชวงศ์คองบองหรือราชวงศ์อลองพญาได้รับการสถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอลองพญาในปี พ. ศ. 2295 ภายหลังการล่มสลายของราชวงศ์ตองอู ในช่วงแรกราชวงศ์คองบองมีความแข็งแกร่งทางด้านการศึกเป็นอย่างมาก นับแต่สมัยของพระเจ้าอลองพญา, พระเจ้ามังระและพระเจ้าปดุง ราชวงศ์คองบองสามารถพิชิตอาณาจักรรอบ ๆ ข้าง อาทิ อาณาจักรอยุธยาของไทย รวมถึงยังเคยเอาชนะกองทัพราชวงศ์ชิงของจีนได้อีกด้วย ราชวงศ์คองบองจึงนับเป็นยุคทองของพม่าอย่างแท้จริง แต่การที่ราชวงศ์คองบองขยายดินแดนเข้าไปทางตะวันตก และยึดครองดินแดนไม่ว่าจะเป็นยะไข่, มณีปุระ และอาหม ก็ได้ทำให้พม่าเกิดข้อขัดแย้งกับอังกฤษซึ่งยึดครองอินเดียอยู่ในขณะนั้น จนนำไปสู่สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่ 1 ในสมัยพระเจ้าจักกายแมง ในปี พ. 2367 ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของพม่า ตามด้วยสนธิสัญญายันดาโบ (Treaty of Yandabo) ที่ทำให้ดินแดนตะวันตกของพม่าตกเป็นของอังกฤษ แต่ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับพม่าก็ยังไม่สิ้นสุดลง ในปี พ. 2395 ข้อพิพาททางการทูตในเมืองย่างกุ้งได้นำไปสู่สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่ 2 ในสมัยพระเจ้าพุกามแมง และสงครามก็จบลงที่พม่าเป็นฝ่ายพ่ายแพ้อีกครั้ง ดินแดนพม่าตอนล่างได้ตกเป็นของอังกฤษ พม่าที่ได้รับความบอบซ้ำอย่างหนักจากสงครามกับอังกฤษและการสูญเสียดินแดน ก็ได้รับการฟื้นฟูในสมัยพระเจ้ามินดง (พ.

“ภูมิศาสตร์” พลังขับเคลื่อนเครื่องจักรสงครามของราชวงศ์คองบอง – ประวัติศาสตร์ – Social Multiculious Forum

ราชวงศ์คองบอง สงคราม ความรัก และหายนะเหนือบัลลังก์พม่า ราชวงศ์สุดท้ายของราชอาณาจักรพม่า ครองอำนาจยาวนานถึง 133 ปี ทั้งออกศึกรบพุ่งกับชนชาติอื่นรอบด้าน ต่อต้านการรุกรานของมหาอำนาจตะวันตก กรำศึกภายในจากการช่วงชิงอำนาจของหมู่ญาติวงศ์มากครั้ง... หนังสือ 351.

สารบัญ บทที่ 1 ปูมหลัง บทที่ 2 ความเกรียงไกรของพม่า บทที่ 3 ชนวนสงครามอังกฤษ-พม่า บทที่ 4 สงครามอังกฤษ-พม่า ครั้งที่ 1 บทที่ 5 ช่วงชิงอำนาจ บทที่ 6 สงครามครั้งที่ 2 บทที่ 7 ต้นรัชกาลพระเจ้ามินดง: แสงตะวันในช่วงเช้า บทที่ 8 กลางรัชกาลพะรเจ้ามินดง: อาทิตย์ยามบ่าย บทที่ 9 ปลายรัชกาลของพระเจ้ามินดง: อาทิตย์อัสดง บทที่ 10 เจ้าชายธีบอและเจ้าหญิงศุภยาลัต ฯลฯ รายละเอียดหนังสือ ISBN: 9786163016973 (ปกอ่อน) 380 หน้า ขนาด: 143 x 210 x 22 มม. น้ำหนัก: 450 กรัม เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ ชนิดกระดาษ: กระดาษถนอมสายตา สำนักพิมพ์: ยิปซี, สนพ. เดือนปีที่พิมพ์: 2019 สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน
  • ยอดเขามงบล็อง — Google Arts & Culture
  • “ภูมิศาสตร์” พลังขับเคลื่อนเครื่องจักรสงครามของราชวงศ์คองบอง – ประวัติศาสตร์ – Social Multiculious Forum
  • One piece ไค โด
  • ยางตัน - TOKAI SOLID TIRE
  • II.08 ราชวงศ์คองบอง (ราชวงศ์อังวะ หรือ ราชวงศ์อลองพญา) -ปกครองล้านนา (2304-2317)
  • กษัตริย์พม่า องค์สุดท้าย
  • แนะนำ Freeware แปลงไฟล์จาก word เป็น PDF
  • สาระน่ารู้ บทความดีๆ ความรู้รอบตัว: รายพระนาม กษัตริย์พม่าราชวงศ์คองบอง
  • สบ เมย pantip 2563

พระเจ้าเนียงดอคยี: หรือ พระเจ้าเมิงลอก (มังลอก) พระบรมเชษฐาธิราช พระราชโอรส (ราชโอรสองค์โตในพระเจ้าอลองพญา) ในสมัยของพระองค์นั้นมีการ เกิดกบฏหลังจากพระเจ้าอลองพญาสวรรคตไป แต่พระองค์ก็ไม่ได้ลงโทษให้อภัยโทษ เนื่องด้วยเกรงว่าจะเกิดการนองเลือดขึ้นได้ พระเจ้าเนียงดอคยีสวรรคตด้วยพระโรคบิด เช่นเดียวกับพระราชบิดาของพระองค์ ที่ตามพงศาวดารพม่าได้บอกไว้ 3. พระเจ้ามังระ: สิริสุริยาธรรมราชาธิบดี สินพยูฉิน หรือพระเจ้าสินพยูฉิน เรียกกันอีก ชื่อว่า พระเจ้าช้างเผือก ในสมัยพระองค์นั้น สาารถตีเอาเมืองมณีปุระคืนมาได้ และยึด ลาวกับล้านนาได้และผลงานชิ้นสำคัญของพระองค์คือ การที่สามารถยึดกรุงศรีอยุธยา (โยเดีย) ได้ เป็น สาเหตุให้เสียกรุงครั้งที่2 * ในวันที่ 7 เมษายน 1767 ในสมัยพระองค์ ยังได้ทำสงครามกับ ราชวงศ์ชิงในยุคของจักรพรรดิเฉียนหลงอีกด้วยและได้รับชัยชนะ อย่างสวยงาม พระองค์ยังได้ทำการรบกับพระเจ้าตาก แต่ยังไม่เสร็จศึกพระองค์ก็ สวรรคตเสียก่อน ในวันที่ 10 มิถุนายน 1776 สิริพระชนมายุ 39 พรรษา 4. พระเจ้าจิงกูจา: หรือพระเจ้าซินกูมิน ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 19 ปี พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก แย่งราชสมบัติอีก 5.

elderlyinnovation.com, 2024